น้ำมันปลา กิฟฟารีน






น้ำมันปลา เลือกทานอย่างไรให้ตรงความต้องการของร่างกาย
ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันแพร่หลายในวงการแพทย์ว่า น้ำมันปลา คือ หนึ่งในอาหารเสริมสุขภาพที่ให้ประโยชน์สูงสุดต่อผู้บริโภค ให้ผลดีมากในการลดไขมันในเลือด และลดระดับไตรกรีเซอไรด์ในเลือด ป้องกันโรคหัวใจ โรคความดันสูง โรคเบาหวาน บำรุงสมอง ช่วยลดอาการปวดเข่า
น้ำมันปลาแหล่งรวมกรดไขมัน โอเมก้า 3 
น้ำมันปลาประกอบด้วยอะไรบ้าง ?

น้ำมัน ปลาประกอบด้วยกรดไขมันจำเป็นประเภทโอเมก้า 3 อยู่มาก เป็นกรดไขมันจำเป็นที่ร่างกายสังเคราะห์ไม่ได้ และต้องได้รับจากอาหารในปริมาณที่เพียงพอ

กรดไขมันโอเมก้า 3 สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ที่สำคัญคือ
1. กรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (Eicosapentaennoic Acid) หรือ EPA
▬ ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี (LDL) และไตรกลีเซอไรด์
▬ เพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) 
▬ ช่วยลดความหนืดและทำให้เลือดไหลเวียนได้ดี
▬ ป้องกันหลอดเลือดอุดตัน จึงช่วยป้องกันสาเหตุหลักเกิดโรคหัวใจล้มเหลวได้
▬ ช่วยลดอาการอักเสบที่เกิดจากโรคข้อเสื่อม และข้ออักเสบรูมาตอยด์

2. กรดโดโคซาเฮกอีโนอิก (Docosahexaenoic Acid) หรือ DHA
▬ มีส่วนช่วยในการบำรุงสมอง
▬ ทำให้เซลล์สมองแข็งแรง
▬ ช่วยให้สารอาหารและออกซิเจนไปเลี้ยงสมองได้สะดวกขึ้น
▬ เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเซลล์สมอง

น้ำมันปลาที่ดีต้องดูอย่างไร
▬ ต้องมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดโอเมก้า 3 ที่ประกอบด้วย DHA และ EPA ในสัดส่วนและปริมาณที่เหมาะสม
▬ DHA : EPA = 1:2 หรือ 2:3
▬ ใน 1,000 มก. ควรมี DHA + EPA > 200 มก.

น้ำมันปลาที่ดีต้องดูอย่างไร
▬ ผลิตจากโรงงานที่น่าเชื่อถือ และได้รับการรับรองมาตฐาน GMP, BRC และ ISO9001
▬ วัตถุดิบที่มีคุณภาพตามมาตรฐานทางเภสัชและมาตรฐาน GOED (Global Organization for EPA and DHA Omega-3)
▬ น้ำเข้าจากประเทศที่เป็นแหล่งของปลาที่มีโอเมก้า 3 สูง

สุดยอดคุณประโยชน์ของน้ำมันปลากับการดูแลสุขภาพ
สาร DHA ในน้ำมันปลาช่วยบำรุงสมองได้อย่างไร ?
ในประเทศญี่ปุ่นช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีผลงานวิจัยแสดงผลอย่างชัดเจนว่า สาร DHA ในน้ำมันปลามีส่วนสำคัญในการพัฒนาสมอง โดยสาร DHA จะช่วยบำรุงสมองให้ทำงานดีขึ้น DHA ผ่านเข้าไปในสมองและเสริมสร้างการเจริญเติบโตของปลายประสาทที่เรียกว่า Dendrite บริเวณของ Dendrite นี้จะทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณและผ่านข้อมูลระหว่าเซลล์สมองด้วยกัน ดังนั้นจึงมีการแนะนำให้รับประทานเนื้อปลา

สรุป

น้ำมันปลากับการบำรุงสมอง

▬ ช่วยให้คิดไวขึ้น
▬ ความจำดี
▬ สมองสดชื่น ไม่อ่อนล้า
▬ ป้องกันโรคสมองเสื่อม หรืออัลไซเมอร์

น้ำมันปลากับการดูแลหัวใจ 
▬ ช่วยลดคลเลสเตอรรอลชนิดเลว (LDL)  และไตรกลีเซอไรด์ และเพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL)
▬ ช่วยลดความข้นเหนียวของเลือด ทำให้เลือดไหลเวียนได้ดีขึ้น
▬ ป้องกันหลอดเลือดอุดตันจากการจับตัวของเกล็ดเลือด
▬ ป้องกันการตกตะกอน (Plaque) สาเหตุของหลอดเลือดตีบและอุดตัน

น้ำมันปลากับโรคข้อเสื่อมและข้ออักเสบรูมาตอยด์
▬ ช่วยลดการสร้างสารที่ทำให้เกิดการอักเสบ จึงช่วยลดการอักเสบและบวมของข้อได้
น้ำมันปลาช่วยลดการบวมของโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ได้อย่างไร ?
สาร DHA /EPA จะลดการสร้างโพรสตาแกลนดิน ชนิดลิวโคไตรอีน ซึ่งเป็นสารก่อการอักเสบ ทำให้สามารถลดการอักเสบและบวมของข้อได้

ประโยชน์ของน้ำมันปลาในแต่ละช่วงวัย 
ทารกและสตรีมีครรภ์ ช่วยเพิ่มพัฒนาการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของสมอง
วัยเรียน ช่วยเสริมสร้างสมาธิ และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง
วัยทำงาน ช่วยเสริมสร้างสมาธิ และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมองและลดความเสี่ยงให้เกิดโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่นไขมันในเลือดสูง หัวใจ เป็นต้น
ผู้สูงอายุ เพื่อป้องกันสภาวะสมองเสื่อม หรือโรคอัลไซเมอร์ และบรรเทาอาการโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรคข้อเสื่อม โรคเบาหวาน เป็นต้น
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ ดีเอชเอและการทำงานของสมอง

น้ำมันปลาประกอบด้วยกรดไขมันจำเป็นประเภทโอเมก้า 3 อยู่ในปริมาณสูง ซึ่งในกลุ่มโอเมกัา 3 นั้นมีกรดไขมันไม่อิ่มตัว 2 ชนิดที่สำคัญได้แก่
1. กรดโดโคซาเอกซาอีโนอิก (Docosahexaenoic Acid) หรือ DHA
2. กรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (Eicosapentaenoic Acid) หรือ EPA

แหล่งของ DHA และ EPA ในธรรมชาติพบมากในปลาทะเลและสาหร่าย โดย EPA จะมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดอุดตัน เพราะเป็นโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์สมอง

ในช่ววหลายปีที่ผ่านมา มีผลงานวิจัยแสดงอย่างชัดเจนว่า สาร DHA ในน้ำมันปลามีส่วนสำคัญในการพัฒนาสมอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงตั้งแต่แรกเกิดที่ตัองการ DHA  ในปริมาณมากและพอเพียง เพื่อใช้ในการพัฒนาสมองได้อย่างเต็มที่

ในวัยผู้ใหญ่ DHA จะผ่านเข้าไปในสมองและเสริมสร้างการเจริญเติบโตของปลายประสาทที่เรียกว่า เดไตรต์ (Dendrite) ซึ่งจะทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณและสงผ่านข้อมูลระหว่างซลล์สมองด้วยกัน ทำให้เกิดการเรียนรู้และการจดจำ นอกจากนี้ DHA ยังมีความสำคัญต่อประสาทสายตา และระบบการทำงานของสายตาอีกด้วย

DHA ยังช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคความจำเสื่อมชนิดที่เป็นที่รู้จักกันคือ โรคอัลไซเมอร์ ซึ่งป็นโรคที่พบได้บ่อยในกลุ่มโรคความจำเสื่อม โดยจะมีการเสื่อมของเซลล์สมองในส่วนที่ควบคุมการเรียนรู้และความจำ โรคนี้ส่วนใหญ่พบในผู้สูงอายุที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป และอัตราความเสียงของโรคจะเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคความผิดปกติของหลอดเลือดได้แก่ โรคหัวใจ เบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือดสูง ถือเป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญที่อาจเกิดเซลล์สมองฝ่อเร็วกว่าคนทั่วไป

โรคอัลไซเมอร์ จะส่งผลให้เกิดความจำเสื่อม การทำงานประสานของร่างการลดลง พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง หลงลืม สับสน และไม่สามารถปฏิบัติงานที่เคยทำปกติได้ การมีเหตุผลจะลดลง ที่สำคัญผู้ป่วยด้วยโรคนี้ทั่วโลกประมาณ 33.9 ล้านคน และคาดว่าจะเพิ่มเป็น 3 เท่าในอีก 40 ปีข้างหน้า 

สำหรับประเทศไทย ซึ่งมีผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปทั้งหมดประมาณ 8.3 ล้านคน คาดว่าจะมีผุ้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคอัลไซเมอร์ประมาณ 8.3 แสนคน และคาดการณ์ได้ว่าโรคอัลไซเมอร์จะเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่รุนแรงขึ้นในอนาคต ซึ่งไม่เพียงแต่ส่งผลกระบต่อผู้เป็นโรคเท่านั้น ยังส่งผลกระทบต่อผู้เป็นโรคนั้นเท่านั้น ยังส่งผลกระทบต่อคนในครอบครัวอีกด้วยดังนั้นโรคอัลไซเมอร์จึงเป็นโรคที่น่ากังวลในปัจจุบันและอนาคตเป็นอย่างมาก

หนึ่งในสาเหตุของการเกิดโรคอัลไซเมอร์คือ การสะสมของอะลอยด์ เบต้า (Anyloid Beta) จนกลายเป็นอะไมลอยด์ พล๊าค (Amyloid plaques) ซึ่งมีความเป็นพิษต่อเซลล์ประสาท โดยจะทำลายสมดุลทำให้เกิดอนุมมูลอิสระ ทำลายโครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ที่มีไขมันและโปรตีนเป็นส่วนประกอบ 

และทำให้เกิดการกระตุ้นเซลล์ Microglia ซึ่งเป็น Microglia ถูกกระตุ้นจะทำให้เกิดการหลังสารที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบที่เป็นพิษต่อระบบประสาท ซึ่งเป็นสาเหตุให้เซลล์สมองถูกทำลาย

งานวิจัยสนับสนุนว่า DHA ในน้ำมันปลาข่วยเพิ่มสารที่มีชื่อว่า LR11 โปรตีน ซึ่งสามารถช่วยลดการเกิดอะไมลอยด์ เบต้า (Amyloid Beta) ที่จะรวมตัวเป็นไมลอยด์ พล๊าค (Amyloid Plaques) หนึ่งในสาเหตุของการเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้ อีกงานวิจับที่ทำงารทดลองกับผู้สูงอายุ 

พบว่า การรับประทาน DHA วันละ 900 มก. ติดต่อกัน 6 เดือน สามารถเพิ่มความสามารถในการเรียนรู้และการจำจดได้ดี นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยเพิ่มเติม สนับสนุนว่า DHA สามารถชะลอการเกิดโรคสมองเสื่อมประเภทอัลไซเมอร์ได้ โดยที่ไม่มีความข้างเครียงต่อสุขภาพและมีความปลอดภัยสูง รวมถึงงานวิจัยระบุว่าการที่ร่างการได้รับ DHA ที่ไม่เพียงพอจะมีแนวโน้มทำให้มีโอกาสเกิดอนุมูลอิสระ เกิดปฏิกริยา Lipid peroxidation ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะเกิดรคอัลไซเมอร์

จากนี้ ยังมีงานวิจัยในประทเศออสเตรเลีย โดยศึกษากับเด็กอายุ 7-12 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้นพบว่า การเพิ่มขึ้นของดีเอชเอในเม็ดเลือดแดง ส่งผลให้เด็กมีการอ่านคำที่ดีขึ้น การสะกดคำที่ดีขึ้น ความสนใจดีขึ้น พฤติกรรมที่ผิดปกติ ความกระสับกระสาย และอาการสมาธิสั้น โดยรวมลดลง และมีงานวิจับในประเทศโอมาณ ระบุว่าเด็กโรคออทิซึม หรือ ผู้ป่วยออทิสติก จะมีระดับขอ DHA ในเม็ดเลือดแดงต่ำเช่นเดียวกัน

ดังนั้นการรับประทานอาหาร หรืออหารเสริมที่มีส่วนประกอบ DHA เป็นประจำจะมีส่วนสำคัญในการเสริมสร้างพัฒนาการในเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้น และผู้ป่วยออทิสติก นอกจากนี้ยังลดความเสี่ยงในการเป็นโรคอัลไซเมอร์ในผู้สูงอายุ และมีส่วนช่วยในการพัฒนาสมอง เพิ่มการเรียนรู้ และการจำได้อีกด้วย

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับน้ำมันปลา 

Q: น้ำมันปลาและน้ำมันตับปลามีความแตกต่างกันอย่างไร
A: แตกต่างกันตรงแหล่งที่มา สารอาหารที่ได้รับและคุณประโยชน์ ดังนี้ 













▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
ข้อควรระวัง/ข้อห้าม❗
❌ห้ามในผู้ที่แพ้อาหารทะเล
❌ห้ามในผู้ที่มีเกล็ดเลือดต่ำ
❌ห้ามในผู้ที่ทานยาต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือด
❌ห้ามในผู้ที่ทานยาละลายลิ่มเลือด

น้ำมันปลาสำหรับดูแลสุขภาพ #ลดอาการปวดเข่า


น้ำมันปลา กิฟฟารีน (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 90 แคปซูล) ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 แคปซูล : น้ำมันปลา 1000 มก. วิตามินอี(1200หน่วยสากล/กรัม) 4160 มก. ประกอบไปด้วยกรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (อีพีเอ) 180 มก. กรดโดโอซาเฮกซาอีโนอิก (ดีเอชเอ) 120 มก.

น้ำมันปลา (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 90 แคปซูล)  ราคา 540 บาท

น้ำมันปลา (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 50 แคปซูล)
น้ำมันปลา 1000 มก. ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 แคปซูล : น้ำมันปลา 1000 มก. วิตามินอี(1200หน่วยสากล/กรัม) 4160 มก. ประกอบไปด้วยกรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (อีพีเอ) 180 มก. กรดโดโอซาเฮกซาอีโนอิก (ดีเอชเอ) 120 มก.

น้ำมันปลา (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 50 แคปซูล) ราคา 350 บาท
น้ำมันปลา (ขนาด 500 มก. บรรจุ 90 แคปซูล)
น้ำมันปลา 500 มก. ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 แคปซูล : น้ำมันปลา 500 มก. วิตามินอี(1200หน่วยสากล/กรัม) 2080 มก. ประกอบไปด้วยกรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (อีพีเอ) 90มก. กรดโดโอซาเฮกซาอีโนอิก (ดีเอชเอ) 60 มก.

น้ำมันปลา (ขนาด 500 มก. บรรจุ 90 แคปซูล) ราคา 320 บาท



น้ำมันปลา (ขนาด 500 มก. บรรจุ 50 แคปซูล)
น้ำมันปลา 500 มก. ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 แคปซูล : น้ำมันปลา 500 มก. วิตามินอี(1200หน่วยสากล/กรัม) 2080 มก. ประกอบไปด้วยกรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (อีพีเอ) 90มก. กรดโดโอซาเฮกซาอีโนอิก (ดีเอชเอ) 60 มก. น้ำมันปลา (ขนาด 500 มก. บรรจุ 50 แคปซูล) ราคา 200 บาท

น้ำมันปลาสำหรับ #บำรุงสมอง เพราะมี DHA ที่สูงถึง 4 เท่า
น้ำมันปลา 4 เอ็กซ์ (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 30 แคปซูล)
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร น้ำมันปลา 1000 มก. ชนิดแคปซูล ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 เม็ด ใน 1 แคปซูล มีน้ำมันปลา 1,000 มก. ประกอบด้วย กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง กรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (อีพีเอ) 100 มก. กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิก (ดีเอชเอ) 500 มก.

น้ำมันปลา 4 เอ็กซ์ (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 30 แคปซูล) ราคา 620 บาท
น้ำมันปลา 4 เอ็กซ์ (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 60 แคปซูล)
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร น้ำมันปลา 1000 มก. ชนิดแคปซูล ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 เม็ด ใน 1 แคปซูล มีน้ำมันปลา 1,000 มก. ประกอบด้วย กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง กรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (อีพีเอ) 100 มก. กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิก (ดีเอชเอ) 500 มก.

น้ำมันปลา 4 เอ็กซ์ (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 60 แคปซูล) ราคา 1,060 บาท

0 Post a Comment